วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 11 

วันอังคาร ที่ 18 ตุลาคม 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30

ความรู้ที่ได้รับ

-ในต้นชั่วโมงอาจารย์ได้ให้นักศึกษาออกมานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ที่นักศึกษาได้ประดิษฐ์เองมีของเล่นมากมายที่น่าสนใจ

  1. นาฬิกาทราย 
  2. ลวดเต้นระบำ
  3. วงโคจรของโลก
  4. ทวินเพน
  5. กล่องสุริยะจักรวาล
  6. โรงละคร ผีเสื้อเริ่งระบำ
  7. รางหรรษา
  8. ไข่หรรษา
  9. ภาพใต้น้ำ





-จากนั้นก็จะเป็นการเรียนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ซึ่งสาระวิทยาศาสตร์มี 8 สาระ และยังมีทักษะของวิทยาศาตร์ 
  1. ตั้งคำถาม ตั้งประเด็นปัญหา
  2. ตั้งสมมุติฐาน
  3. ทดลองใช้ทักษะสังเกต เพื่อรวบรวมข้อมูล
  4. วิเคราะห์ สรุป อภิปราย

-ต่อมาให้จับกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ให้แต่ละกลุ่มทำมายแมบปิ้ง ที่ใกล้ตัวเด็ก โดยมีประเด็น มีดังนี้
  1. ประเภท แบ่งเกณฑ์ ชนิด บอกชื่อ
  2. ลักษณะ เช่น สี รูปร่าง ขนาด รูปทรง กลิ่น ส่วนประกอบ
  3. การดูแลรักษา การถนอม การดำรงชีวิต
  4. ประโยชน์ เช่น สร้างรายได้ สร้างอาชีพ
  5. ข้อควรระวัง โทษ




มีทั้งหมด 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีหัวเรื่องดังนี้
  1. กล้วย
  2. น้ำ
  3. ส้ม
  4. ไก่
  5. ข้าว
  6. นม





การประยุกต์ใช้

-เชื่อมโยง สอดคล้อง บูรณาการทำให้มันสอดคล้องเชื่อมโยงกันและการที่เราบูรณาการ เราต้องดูจากสิ่งที่เด็กอยากรู้ สิ่งรอบตัวเด็ก มีผลกับเด็ก 


การประเมิน

ผู้สอน

อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับสาระวิทยาศาสตร์ และทักษะของวิทยาศาสตร์จากนั้นเมื่อนักศึกษาแต่ละกลุ่มทำมายแมบปิ้งเสร็จเรียบร้อย อาจารย์ยังได้อธิบายว่าแต่ละกลุ่มควรปรับปรุงตรงไหนบ้างและคอยเพิ่มตรงไหนบ้าง
ตัวเอง

ดิฉันได้ช่วยเขียนมายแมบปิ้งและก็คอยนำเสนอในแต่ละหัวข้อต่างๆให้เพื่อนๆได้ตัดสินใจ

เพื่อน

เพื่อนแต่ละคนมีหน้าที่ช่วยกันในการทำงานครั้งนี้ทำให้งานประสบผลสำเร็จ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น